สัจจา จันทรวิเชียร
ปรัชญาการพัฒนาชุมชน แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนา การพัฒนาชุมชน แนวคิดเรื่อง “วัฒนธรรมชุมชน” และ “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” โดยกระแสภูมิปัญญาชาวบ้านได้ชี้ให้เห็นศักยภาพของสถาบันชุมชนต่าง ๆ อาทิ พระ ผู้นำอาวุโส เครือข่ายต่าง ๆ ที่ยังคงมีบทบาทอยู่ในชุมชน บุคลากรและสถาบันเหล่านี้มีบทบาทในการทำให้สังคมชนบทยังไม่แตกสลายทางด้านจิตใจและทางวัฒนธรรมท้องถิ่น หลักการดำเนินงานพัฒนาชุมชน กระบวนการทำงานพัฒนาชุมชน การปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนเป็นงานที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง เป็นกระบวนการ ทบทวนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การพัฒนาแบบมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชนคือการแสดงออกถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน ของชุมชนในการจัดการทุนชุมชน จัดการชีวิตของตนเอง การมีส่วนร่วมเกิดจากแนวความคิดในการพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีโอกาสได้แสดงทัศนะและเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่มีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งมีการนำความคิดเห็นดังกล่าวไปประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบายและการตัดสินใจของรัฐ ประกอบด้วยการให้ข้อมูลข่าวสารต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การเปิดรับความคิดเห็นจากประชาชน (ประชาพิจารณ์) การวางแผนร่วมกัน และการพัฒนาศักยภาพของประชาชนให้สามารถเข้ามามีส่วนร่วม การพัฒนายั่งยืน ( sustainable development ) การพัฒนายั่งยืน ( sustainable development )หมายถึง การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของปัจจุบันโดยไม่ทำให้ผู้คนในอนาคตเกิดปัญหาในการตอบสนองความต้องการของตนเอง” การพัฒนาบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คือ การวางรากฐานอันมั่นคงและยั่งยืนของชีวิต
ความรู้สู่นักพัฒนาชุมชน เล่ม ๕ หลักการและวิธีการพัฒนาชุมชน
ความรู้สู่นักพัฒนาชุมชน เล่ม ๕ ประวัติการพัฒนาชุมชนในประเทศไทย
ติวสอบครูผู้ช่วย ภาค ก กฏหมายที่เกี่ยวกับการศึกษา
ติวสอบครูผู้ช่วย ภาค ก จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
ติวสอบครูผู้ช่วย ภาค ก ความรอบรู้
ความรู้สู่นักพัฒนาชุมชน เล่ม ๔ แนวคิดการพัฒนาชุมชน
ความรู้สู่นักพัฒนาชุมชน เล่ม ๓ อุดมการณ์การพัฒนาชุมชน
ความรู้สู่นักพัฒนาชุมชน เล่ม ๒ แนวคิดทฤษฎีการพัฒนา
ความรู้สู่นักพัฒนาชุมชน เล่ม ๑ ความหมาย แนวคิดของการพัฒนา
การวิเคราะห์ชุมชนเพื่อการพัฒนา
โยนิโสมนสิการศาสตร์แห่งการคิดเพื่อชีวิตที่ดีงาม